รองศาสตราจารย์ ดร.อรวรรณ บุญพัฒน์ (Orawan Boonpat)

ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์ (สาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม)


ประวัติการศึกษาและการฝึกอบรมหลักสูตรวิชาชีพ

ระดับปริญญาเอก : ปร.ด. สาขาวิชา การจัดการนวัตกรรมการท่องเที่ยวและบริการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2557
ระดับปริญญาโท   : ศศ.ม. (สาขาวิชาการจัดการมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2541
ระดับปริญญาตรี  : ศศ.บ. (สาขาวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว) วิทยาลัยครูเชียงราย พ.ศ. 2536

ประกาศนียบัตรวิชาชีพ : ประกาศนียบัตรมัคคุเทศก์ทั่วไป(ต่างประเทศ)การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
           ประกาศนียบัตร Basic Fare & Ticketing จาก International Airline Transport Association (IATA) & Airline Training Centre (ATC)
           ประกาศนียบัตรระบบการสำรองที่นั่งบัตรโดยสารเครื่องบินอมาดิอุส (Amadeus) จากบริษัทอมาดิอุส ประเทศไทย
           ประกาศนียบัตร Hotel Management จากกรมวิเทศสหการ และ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
           ประกาศนียบัตร Galileo GDS., Basic Reservation Training Course และ Basic Fare Training Course จาก Galileo Thailand CO., Ltd.


ผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่

(1) เอกสารประกอบการสอน

  การวางแผนและการจัดรายการนำเที่ยว
  ธุรกิจการบิน
  การจัดการนวัตกรรมสำหรับธุรกิจโรงแรม
  มหัศจรรย์ท่องเที่ยวไทย


(2) ตำรา

  การวางแผนและการจัดรายการนำเที่ยว
  การจัดการส่วนหน้า


(3) หนังสือ

   


(4) รายงานการวิจัย

   เสงี่ยม บุญพัฒน์ และอรวรรณ บุญพัฒน์. (2566). การประเมินศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงอาหารในจังหวัดเชียงราย ภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจบีซีจี.
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย. (ผู้ร่วมวิจัย)

   ภูวนารถ ศรีทองและคณะ. (2564). แนวทางการจัดการท่องเที่ยวเชิงผจญภัยทางน้ำอย่างมีส่วนร่วมของชุมชน แพเปียกนวัตวิถีลำน้ำแม่สรวย เทศบาลตำบลเวียงสรวย จังหวัดเชียงราย.
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย. (ผู้ร่วมวิจัย)

   ศิรินพรรณ ชุ่มอินทจักรและคณะ. (2564). ต้นทุนทางสังคมวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชน สันโค้งหลวงและสันโค้งน้อย ตำบลเวียง อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย.
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย. (ผู้ร่วมวิจัย)

   อรวรรณ บุญพัฒน์และคณะ. (2563). การสร้างสรรค์อาหารพื้นถิ่นเพื่อการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพโดยชุมชน บ้านหนองอ้อ อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย.
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.

   อรวรรณ บุญพัฒน์และคณะ. (2563). การพัฒนารูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพเพื่อส่งเสริมตลาด การท่องเที่ยวจังหวัดเชียงราย สำหรับนักท่องเที่ยวสูงอายุชาวไทย.
สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)

   มนสิชา ซาวคำและคณะ. (2562). การส่งเสริมกิจกรรมรูปแบบใหม่เพื่อสร้างรายได้และเพิ่มมูลค่าสินค้าและ บริการทางการท่องเที่ยว บ้านหนองอ้อ อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย. (2562).
สถาบันวิจัยและ พัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย. (ผู้ร่วมวิจัย)

    อรวรรณ บุญพัฒน์และคณะ. (2560). การสร้างอัตลักษณ์ผ้าทอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย สู่การเพิ่มมูลค่าทางการท่องเที่ยว.
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.


(5) บทความวิจัย/บทความวิชาการ/รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ (Proceedings)/ การประชุมวิชาการ

    เสงี่ยม บุญพัฒน์ มัลลิตา ชูติระกะ อรวรรณ บุญพัฒน์ สิทธิ สิทธิกรรณ์ มนสิชา ซาวคำ ภูวนารถ ศรีทอง สุรัชนี ยลธะศาสตร์ อุทุมพร การเก็บ ปานดวงใจ บุญจนาวิโรจน์. (2568). การประเมินการรับรู้ผ่าน ประสบการณ์การท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวจังหวัด เชียงราย. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต. ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 (มกราคม - เมษายน 2568)

    เสงี่ยม บุญพัฒน์ และอรวรรณ บุญพัฒน์. (2566). การประเมินศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงอาหารในจังหวัดเชียงราย ภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจ BCG. วารสารศิลปศาสตร์ราชมงคลสุวรรณภูมิ. 5(3). 679-693.

   อรวรรณ บุญพัฒน์. (2564). การปรับรูปแบบการบริการของโรงแรมในยุคหลังโควิด-19. วารสาร การท่องเที่ยวและการบริการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 6(2), 1-14.

   เสงี่ยม บุญพัฒน์ ขวัญฤทัย ครองยุติ อรวรรณ บุญพัฒน์ และ ญาณัท ศิริสาร. (2564). การประเมิน ความพึงพอใจและพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวต่องานเทศกาลชิมชา ซากุระบาน วัฒนธรรมชนเผ่า และกาแฟดอยแม่สลอง ครั้งที่ 24 จังหวัดเชียงราย. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏ เชียงราย, 14(3), 115-131.

    ภูวนารถ ศรีทอง มนสิชา ซาวคำ อรวรรณ บุญพัฒน์ สุรัชนี ยลธะศาสตร์ นคเรศ อุดชะยาและ ศิรินพรรณ ชุ่มอินทจักร. (2564). การมีส่วนร่วมของชุมชนและทุนทางสังคมต่อการท่องเที่ยว โดยชุมชนบ้านหนองอ้อ ตำบลป่าซาง อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย. The 4th National Conference on Business Transformation. Business Management in The Digital Transformation (Proceeding). มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 150 – 156.

   นิพล เชื้อเมืองพาน ธนธร วชิรขจร นิออน ศรีสมยง อรวรรณ บุญพัฒน์ และวงศ์ระวิทย์ น้อมน้ำทรัพย์.(2563). ศักยภาพและขีดความสามารถในการรองรับได้ของพื้นที่เชิงการท่องเที่ยวใน แหล่งท่องเที่ยวพุน้ำร้อนกลุ่มท่องเที่ยวอารยธรรมล้านนา. วารสารศิลปกรรมบูรพา, 21(2), 168 - 187

   อรวรรณ บุญพัฒน์ และปริพรรน์ แก้วเนตร. (2562).การสร้างอัตลักษณ์ผ้าทอเชียงแสน จังหวัดเชียงรายสู่การเพิ่มมูลค่าสินค้าทางการท่องเที่ยว. วารสารดุสิตธานี, 13(2), 117-133.

   Boonpat O., Boonpat S., Srithong P., Chuminthachak S., Yolthasart S., Utchaya N., and Saokham M. (2023). Creating Local Food for Health Tourism by Ban Nong O community, Mae Chan District, Chiang Rai Province. Kasetsart Journal of Social Sciences. 44(4): 1229-1238. https://doi.org/10.34044/j.kjss.2023.44.4.27

   Boonpat, O., Yolthasart, S., & Utchaya, N. (2022). Wellness tourism activity model development to promote tourism market for Thai elderly tourists in Chiang Rai province. Journal of Management Information and Decision Sciences, 25(2), 1-12.


(6) ผลงานวิชาการอื่น

   กรณีศึกษา (Case Study) ชุดองค์ความรู้ด้านการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของ อพท. ที่สอดคล้องกับหลักเกณฑ์ GSTC “การบริหารจัดการการท่องเที่ยวโดยกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ชุมชนตำบลบ่อสวก”
  Case Study: Knowledge resources concerning DASTA sustainable tourism development based on the GSTC’s criteria “Community Participation in Tourism Management: Bor Suak Community-Based Tourism”


หัวข้อ/สาขาวิชาที่ถนัดและสนใจ

   งานวิจัยด้านการท่องเที่ยวกับสิ่งแวดล้อม การท่องเที่ยวสร้างสรรค์และธุรกิจการบินกับการท่องเที่ยว


E-mail :

   orawan.boo@crru.ac.th